DG Learning Portal
1. กรุณาคลิกลงทะเบียนที่ Digital ID
(หรือหากมีบัญชี Digital ID แล้วสามารถเข้าสู่ระบบได้ทันที)
2.ยืนยันอีเมล
(ท่านที่เป็นสมาชิกเดิมให้ใช้อีเมลเดิมในการยืนยัน)
คลิกเพื่อไปยัง Digital ID

Public Training



หลักสูตรการพัฒนาผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงภาครัฐ (GCIO) รุ่นที่ 31

หลักสูตรการพัฒนาผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงภาครัฐ (GCIO) รุ่นที่ 31

หลักสูตรการสร้างกระบวนการเปลี่ยนผ่านองค์กรสู่รัฐบาลดิจิทัล (Digital Transformation Program: DTP#5)

หลักสูตรการสร้างกระบวนการเปลี่ยนผ่านองค์กรสู่รัฐบาลดิจิทัล(Digital Transformation Program)

หลักสูตรเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลภาครัฐ รุ่นที่ 7

หลักสูตรเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลภาครัฐ (Government Data Protection Officer : GDPO) เป็นหลักสูตรที่เกิดจากความร่วมมือของ 3 หน่วยงานคือ สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) หรือ สพร. สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล หรือ สคส. และสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) หรือ สคช.  เพื่อร่วมกันสร้างเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (DPO) ให้มีความรู้และทักษะอย่างเพียงพอเพื่อการปฏิบัติหน้าที่   ตามบทบาทที่กฎหมายกำหนด โดยเนื้อหาในหลักสูตรเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล รวมถึงการประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง โดยการศึกษาพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 โดยเฉพาะมาตราต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับแนวปฏิบัติด้านความมั่นคงปลอดภัยและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องหลักการด้านความเป็นส่วนตัวและการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Privacy and Data Protection Principles) บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบด้านการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Roles and Responsibility) มาตรฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล การบริหารจัดการและการประเมินความเสี่ยง รวมถึงเอกสารอื่นที่จำเป็นในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล  หลักสูตรนี้จะมุ่งเน้นในการเตรียมความพร้อมให้เจ้าหน้าที่ที่ได้รับการแต่งตั้งเป็น DPO ของหน่วยงาน ให้เป็นผู้สามารถปฏิบัติตามกฎหมายได้อย่างถูกต้อง และมีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ แนวปฏิบัติ มาตรฐานความปลอดภัยตามหลักการสากล สามารถนำความรู้และผลจากการฝึกปฏิบัติ ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน รวมถึงเตรียมความพร้อมเพื่อการขอรับรองมาตรฐานคุณวุฒิอาชีพนักจัดการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ระดับ 7 

หลักสูตรรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์สำหรับผู้บริหารระดับสูง (รอส.) รุ่นที่ 10

หลักสูตรรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์สำหรับผู้บริหารระดับสูง (รอส.) รุ่นที่ 10 (e-Government Program for Chief Executive Officer : e-GCEO#10)

หลักสูตรกฎหมาย PDPA สำหรับผู้ปฏิบัติงานด้านคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล รุ่นที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2567 (PDPA for Data Protection Practitioner)

    หลักสูตรกฎหมาย PDPA สำหรับผู้ปฏิบัติงานด้านคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ประจำปีงบประมาณ 2567 (PDPA for Data Protection Practitioner) จัดทำขึ้นเพื่อเสริมความรู้ความเข้าใจในพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 อย่างเข้มข้น ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ผู้เรียนในหลักสูตรจะได้รับความรู้ในตัวเนื้อหา พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เห็นภาพรวมของการบังคับใช้กฎหมายที่เชื่อมโยงกัน ซึ่งจะช่วยให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ทั้งทฤษฏีและปฏิบัติไปประยุกต์ใช้ในหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อลดความเสี่ยงทางกฎหมาย และป้องกันความเสียหายต่อหน่วยงานที่อาจเกิดขึ้นจากการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล

หลักสูตรนักบริหารรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รุ่นที่ 13 (e-Government Executive Program: e-GEP#13)

  หลักสูตรนักบริหารรัฐบาลอิเล็กทรอนกสิ ์รุ่นที่ 13 (e-Government Executive Program: e-GEP#13) เพื่อช่วยพัฒนาศักยภาพด้านดิจิทัล ของผู้บริหารภาครัฐให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบาย แผนงานสำคัญเพื่อการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เทคโนโลยี สมัยใหม่และแนวคิดในการบริหารองค์กรที่ทันสมัย ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว รวมทั้งสามารถ 2 กำหนดกลยุทธ์และแนวทางในการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลที่สอดรับกับบทบาทภารกิจของหน่วยงาน และแผนพัฒนา รัฐบาลดิจิทัลของประเทศ

หลักสูตรกฎหมาย PDPA สำหรับผู้ปฏิบัติงานด้านคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA for Data Protection Practitioner)

   หลักสูตรกฎหมาย PDPA สำหรับผู้ปฏิบัติงานด้านคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA for Data Protection Practitioner) จัดทำขึ้นเพื่อเสริมความรู้ความเข้าใจในพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 อย่างเข้มข้น ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ผู้เรียนในหลักสูตรจะได้รับความรู้ในตัวเนื้อหา พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เห็นภาพรวมของการบังคับใช้กฎหมายที่เชื่อมโยงกัน ซึ่งจะช่วยให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ทั้งทฤษฏีและปฏิบัติไปประยุกต์ใช้ในหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อลดความเสี่ยงทางกฎหมายและป้องกันความเสียหายต่อหน่วยงานที่อาจเกิดขึ้นจากการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล

หลักสูตรเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลภาครัฐ รุ่นที่ 6

หลักสูตรเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลภาครัฐ (Government Data Protection Officer : GDPO) เป็นหลักสูตรที่เกิดจากความร่วมมือของ 3 หน่วยงานคือ สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) หรือ สพร. สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล หรือ สคส. และสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) หรือ สคช. เพื่อร่วมกันสร้างเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (DPO)ให้มีความรู้และทักษะอย่างเพียงพอเพื่อการปฏิบัติหน้าที่ ตามบทบาทที่กฎหมายกำหนด โดยเนื้อหาในหลักสูตรเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล รวมถึงการประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง โดยการศึกษาพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 โดยเฉพาะมาตราต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ PDPA แนวปฏิบัติด้านความมั่นคงปลอดภัยและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง หลักการด้านความเป็นส่วนตัวและการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Privacy and Data Protection Principles) บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบด้านการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Roles and Responsibility) มาตรฐานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล การบริหารจัดการและการประเมินความเสี่ยง รวมถึงเอกสารอื่นที่จำเป็นในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล      หลักสูตรนี้มุ่งเน้นในการเตรียมความพร้อมให้เจ้าหน้าที่ที่ได้รับการแต่งตั้งเป็น DPO ของหน่วยงาน ให้เป็นผู้สามารถปฏิบัติตามกฎหมายได้อย่างถูกต้อง และมีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ แนวปฏิบัติ มาตรฐานความปลอดภัยตามหลักการสากล สามารถนำความรู้และผลจากการฝึกปฏิบัติ ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน รวมถึงเตรียมความพร้อมเพื่อการขอรับรองมาตรฐานคุณวุฒิอาชีพนักจัดการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ระดับ 7

หลักสูตรรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์สำหรับผู้บริหารระดับสูง (รอส.) รุ่นที่ 8 (e-Government for Chief Executive Officer Program: e-GCEO)

วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้บริหารระดับสูง รับทราบแนวทางการยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการบริหารงานราชการแผ่นดินภายใต้นโยบายดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และสอดคล้องกับแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย เพื่อขับเคลื่อนองค์กรสู่การบริการภาคประชาชนให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส เพื่อให้ผู้บริหารระดับสูง สามารถกำหนดยุทธศาสตร์ขององค์กรภายใต้นโยบายดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และสอดคล้องกับแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย เพื่อให้ผู้บริหารระดับสูง มีความเข้าใจกฎหมายดิจิทัลที่มีความเกี่ยวข้องกับการบริหารราชการแผ่นดิน และนำไปประยุกต์เพื่อใช้กำหนดนโยบายองค์กร เพื่อให้ผู้บริหารระดับสูง เกิดแนวคิดในการบูรณาการระบบงานราชการเพื่อการปฏิรูปการบริหารงานราชการในหน่วยงานตามแนวทางทางรัฐบาลดิจิทัล เพื่อให้ผู้บริหารระดับสูง เข้าใจแนวทางการจัดการข้อมูลรวมถึงนำข้อมูลไปใช้ให้เกิดใช้ประโยชน์สูงสุด เพื่อให้ผู้บริหารระดับสูง สามารถกำหนดนโยบายในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศไปใช้ในการยกระดับการให้บริการโดยให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการไปช่วยยกระดับการให้บริการประชาชน คุณสมบัติผู้เข้าอบรม เป็นผู้ปฏิบัติงานเฉพาะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Technology Specialist) (ผู้ที่ปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีดิจิทัลในส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐ ซึ่งดำรงตำแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ เจ้าพนักงานเครื่อง คอมพิวเตอร์ หรือตำแหน่งในสายงานอื่น หรือประเภทอื่นที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานที่ต้องใช้ความรู้เชิงเทคนิคเกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิทัล) เป็นผู้ที่มีประสบการณ์ในการทำงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามเกณฑ์ในการคัดเลือกผู้เข้าอบรมข้อใดข้อหนึ่ง ดังต่อไปนี้ เป็นผู้มีประสบการณ์ ในการดูแล จัดการ และตรวจสอบระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยงานโดยตรง เป็นผู้มีประสบการณ์ ในการดูแล และจัดการระบบฐานข้อมูลของหน่วยงานโดยตรง เป็นผู้มีประสบการณ์ ในการบำรุงรักษา ให้บริการ และแก้ไขปัญหาเชิงเทคนิคที่เกี่ยวกับครุภัณฑ์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ของหน่วยงานโดยตรง เป็นผู้มีประสบการณ์ ในการดูแล และจัดการเวบไซต์ของหน่วยงานโดยตรง เป็นผู้มีประสบการณ์ ในการแก้ปัญหาด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศที่เกิดขึ้นประจำวัน ระยะเวลาการอบรม สัปดาห์ละครึ่งวัน โดยฝึกอบรมทั้งหมด จำนวน 14 ครั้ง กำหนดการ รอประกาศ

หลักสูตรกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลสำหรับผู้ปฏิบัติงานภาครัฐ (PDPA for Government Officer)

วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและสาระสำคัญของพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม มีความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมเพื่อการปฏิบัติงานให้สอดคล้องตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม สามารถดำเนินการปรับปรุงและจัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลให้สอดคล้องกับกฎหมายได้ เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม สามารถนำความรู้และผลจากการฝึกปฏิบัติไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองส่วนบุคคลในหน่วยงานได้ คุณสมบัติผู้เข้าอบรม ทำงานด้านนโยบายและงานวิชาการ (Academic) ประกอบด้วย ผู้ปฏิบัติงานที่ต้องใช้ความรู้ในทางวิชาการ เพื่อปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ซึ่งมีลักษณะงานอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (1) งานจัดทำนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนงาน มาตรการ มาตรฐาน กฎเกณฑ์ หลักปฏิบัติ หรือจัดทำร่างงบประมาณ (2) งานด้านการศึกษา ค้นคว้าวิจัย หรือจัดทำผลงานทางวิชาการ ตำรา หลักสูตร สิ่งประดิษฐ์ หรือข้อสรุปเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง (3) งานให้คำปรึกษาโดยใช้ความรู้ ความเชี่ยวชาญในสายงาน ผู้ทำงานด้านบริการ (Service) ประกอบด้วย ผู้ปฏิบัติงานด้านการให้บริการ ซึ่งปฏิบัติงานโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการให้บริการ ให้ความช่วยเหลือ หรืออำนวยความสะดวกแก่ผู้รับบริการภายในหรือภายนอกหน่วยงาน หรือแก่ประชาชน และเอกชน ลักษณะงานที่ปฏิบัติของกลุ่มนี้ เป็นงานที่ต้องมีการติดต่อ สื่อสาร หรือปฏิสัมพันธ์ กับผู้รับบริการโดยตรง โดยจะเป็นงานที่ใช้ความรู้ทางวิชาการเพื่อปฏิบัติหน้าที่หรือไม่ก็ได้ ผู้ปฏิบัติงานอื่น (Others) ประกอบด้วย ผู้ปฏิบัติงานด้านอื่น ๆ ที่ไม่สามารถจัดอยู่ใน 6 กลุ่มข้างต้น หรือผู้ปฏิบัติงานที่อาศัยทักษะ และฝีมือเฉพาะด้านต่าง ๆ เช่น ผู้ปฏิบัติงาน ในกลุ่มบริหารทั่วไป ผู้ปฏิบัติงานด้านศิลปกรรม คีตศิลป์ ดุริยางคศิลป์ นาฏศิลป์ เป็นต้น ระยะเวลาการอบรม 2 วัน กำหนดการ วันที่ 16 และ 22 กรกฎาคม 2564

หลักสูตรการจัดทำการเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data)

วัตถุประสงค์ เพื่อให้ข้าราชการและบุคลากรในหน่วยงานของรัฐ ที่เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญของการเปิดเผยข้อมูลภาครัฐในรูปแบบดิจิทัล เพื่อให้ข้าราชการและบุคลากร ได้ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับมาตรฐานและหลักเกณฑ์การเปิดเผยข้อมูลเปิดภาครัฐ และการใช้งาน Data.go.th เพื่อจัดทำข้อมูลของหน่วยงานให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัลที่สามารถเปิดเผยได้ และประชาชนผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงและนำข้อมูลไปใช้งานได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ทั่วถึง ทุกที่ ทุกเวลา เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรม สามารถเป็นผู้นำในการเปิดเผยข้อมูลเปิดภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรม ได้นำความรู้และประสบการณ์ในการปฏิบัติมาตรฐานและหลักเกณฑ์การเปิดเผยข้อมูลเปิดภาครัฐ และการใช้งาน Data.go.th ไปประยุกต์ใช้ในหน่วยงานได้ทันที คุณสมบัติผู้เข้าอบรม ข้าราชการ และบุคลากรภาครัฐ ผู้จัดทำข้อมูลของหน่วยงาน โดยเฉพาะข้อมูลเชิงตัวเลข หรือสถิติต่าง ๆ เช่น เจ้าหน้าที่ฝ่ายวิเคราะห์ข้อมูล เจ้าหน้าที่ฝ่ายสารสนเทศ เป็นต้น ข้าราชการ และบุคลากรภาครัฐ ที่มีความรู้พื้นฐานการจัดการตาราง (Table) หรือโปรแกรม Excel (Pivot Table) ข้าราชการ และบุคลากรภาครัฐ ที่มีความรู้พื้นฐานในการสร้างกราฟรูปแบบต่าง ๆ เช่น กราฟแท่ง กราฟเส้น ระยะเวลาการอบรม จำนวนย 2 วัน กำหนดการ รุ่นที่ 1 ฝึกอบรมระหว่างวันที่ 14 - 15 ธันวาคม 2563 รุ่นที่ 2 ฝึกอบรมระหว่างวันที่ 21 - 22 ธันวาคม 2563

หลักสูตรการสร้างกระบวนการเปลี่ยนผ่านองค์กรสู่รัฐบาลดิจิทัล รุ่นที่ 3 (Digital Transformation Program: DTP#3)

วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้บริหาร เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างยุทธศาสตร์องค์กรและรัฐบาลดิจิทัล เพื่อให้ผู้บริหาร สามารถออกแบบกระบวนการที่สนับสนุนการเปลี่ยนผ่านองค์กรไปสู่รัฐบาลดิจิทัล เพื่อให้ผู้บริหาร มีความเข้าใจกฎหมายดิจิทัลที่มีความเกี่ยวข้องกับการจัดทำสถาปัตยกรรมองค์กรและนำไปประยุกต์เพื่อใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพและการยกระดับการให้บริการ เพื่อให้ผู้บริหาร เกิดแนวคิดในการบูรณาการระบบงานราชการเพื่อการปฏิรูปการบริหารงานราชการในหน่วยงานตามแนวทางรัฐบาลดิจิทัล “Thailand 4.0” คุณสมบัติผู้เข้าอบรม ผู้บริหารทุกระดับ ที่ต้องการปรับเปลี่ยนองค์กรสู่องค์กรดิจิทัลแบบเป็นรูปธรรม เช่น ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงภาครัฐ (CIO) ผู้อำนวยการสำนัก/ฝ่าย หรือบุคคลซึ่งคณะกรรมการหลักสูตรฯ พิจารณาเห็นสมควรเข้าร่วมการฝึกอบรม เนื่องด้วยเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ หรือมีผลงานอันเป็นประโยชน์และเป็นที่ยอมรับของสังคม ระยะเวลาการอบรม สัปดาห์ละหนึ่งวัน โดยฝึกอบรมทั้งหมด จำนวน 14 ครั้ง กำหนดการ รอประกาศ

หลักสูตรสร้างผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดทำธรรมาภิบาลข้อมูล (Data Governance Framework) สำหรับหน่วยงานภาครัฐ

วัตถุประสงค์ เพื่อให้เครือข่ายสถาบันการศึกษาและบุคลากรของหน่วยงานภาครัฐ ที่เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ทางด้านการดำเนินงานจัดทำธรรมาภิบาลข้อมูล (Data Governance) ด้วยกรอบธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ (Data Governance Framework) เพื่อให้เครือข่ายสถาบันการศึกษาและหน่วยงานของรัฐ ได้ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการร่วมกันและต่อยอดความร่วมมือการจัดทำธรรมาภิบาลข้อมูลในหน่วยงาน เพื่อให้เครือข่ายสถาบันการศึกษา ที่เข้ารับการฝึกอบรมสามารถจัดทำหลักสูตรการอบรมสำหรับนักศึกษาจบใหม่ ผู้ว่างงาน และบุคลากรในวัยแรงงานที่ต้องการเพิ่มพูนทักษะด้านดิจิทัลตามแนวทางของกรอบธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ (Data Governance Framework) เพื่อให้เครือข่ายสถาบันการศึกษา ที่เข้ารับการอบรมดำเนินการจัดตั้งคณะทำงานที่ประกอบด้วยนักศึกษาจบใหม่ ผู้ว่างงาน และบุคลากรในวัยแรงงานที่ต้องการเพิ่มพูนทักษะด้านดิจิทัล เพื่อร่วมขับเคลื่อนการจัดทำธรรมาภิบาลข้อมูลในระดับหน่วยงานร่วมกับหน่วยงานของรัฐ คุณสมบัติผู้เข้าอบรม หน่วยงานภาครัฐ : หน่วยงานละ 2 คน ผู้รับผิดชอบโครงการการจัดทำข้อมูลของหน่วยงาน ผู้จัดทำ ข้อมูล หรือสถิติ ของหน่วยงาน อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง สถาบันการศึกษา : สถาบันละ 2 คน ผู้สอนที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาด้านการบริหารจัดการข้อมูล ผู้เชี่ยวชาญ ผู้จัดทำ ผู้บริหารจัดการข้อมูล หรือสถิติ อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ระยะเวลาการอบรม จำนวน 2 วัน กำหนดการ รุ่นที่ 2 วันที่ 30 ถึง 31 กรกฎาคม 2563 รุ่นที่ 3 วันที่ 20 ถึง 21 สิงหาคม 2563 รุ่นที่ 4 วันที่ 27 ถึง 28 สิงหาคม 2563

หลักสูตรนักบริหารรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ รุ่นที่ 11 (e-Government Executive Program: e-GEP)

วัตถุประสงค์ เพื่อเตรียมความพร้อม ให้ผู้บริหารเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านดิจิทัลในระดับนโยบาย เพื่อเป็นผู้นำ การขับเคลื่อนไปสู่การเปลี่ยนผ่านเป็นองค์กรดิจิทัล เพื่อเป็นการสร้างความพร้อม ให้แก่ผู้บริหารในการเปลี่ยนผ่านองค์กรไปสู่รัฐบาลดิจิทัล เพื่อพัฒนาทักษะ การใช้งานข้อมูลดิจิทัลในการสนับสนุนนโยบาย “Thailand 4.0” เพื่อพัฒนาทักษะ ด้านการนำนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อพัฒนาทักษะ ด้านมาตรฐาน ระเบียบ และข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการบริหารโครงการ หรือ สามารถวางแผนงานที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีดิจิทัลที่เหมาะสม คุณสมบัติผู้เข้าอบรม ข้าราชการพลเรือน ผู้ดำรงตำแหน่ง ดังต่อไปนี้ ผู้ดำรงตำแหน่งประเภทบริหาร ระดับต้น (เทียบเท่า ซี 9 เดิมขึ้นไป) ผู้ดำรงตำแหน่งประเภทอำนวยการระดับสูง (เทียบเท่า ซี 9 เดิมขึ้นไป) ผู้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญ ขึ้นไป ผู้ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไประดับทักษะพิเศษ ได้แก่ ผู้อำนวยการสำนัก/ฝ่าย รองอธิบดี หรือเทียบเท่า[ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551] พนักงานหรือเจ้าหน้าที่ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน สถาบันอุดมศึกษา และหน่วยงานอื่นของรัฐ ซึ่งดำรงตำแหน่งเทียบเท่าข้าราชการพลเรือนตามข้อ 1 บุคคลซึ่งคณะกรรมการหลักสูตรฯ พิจารณาเห็นสมควรเข้าร่วมการฝึกอบรม เนื่องด้วยเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ หรือมีผลงานอันเป็นประโยชน์และเป็นที่ยอมรับของสังคม ระยะเวลาการอบรม สัปดาห์ละหนึ่งวัน โดยฝึกอบรมทั้งหมด จำนวน 14 ครั้ง กำหนดการ       คลิกที่นี่

หลักสูตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์สำหรับผู้ปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีความตระหนักรู้ในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างมั่นคงปลอดภัย เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีความรู้เกี่ยวกับกฎหมายในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยและเข้าใจในบทบาทหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีความรู้และความเข้าใจกรอบในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ตามแนวทางของ NIST Cybersecurity Framework เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม สามารถวางแผนป้องกันและรับมือกับความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ได้ตามหลักการ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการวางแผนรับมือเกี่ยวกับความเสี่ยงทางไซเบอร์ในองค์กรได้ คุณสมบัติผู้เข้าอบรม เป็นผู้ปฏิบัติงานเฉพาะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Technology Specialist) (ผู้ที่ปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีดิจิทัลในส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐ ซึ่งดำรงตำแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ เจ้าพนักงานเครื่อง คอมพิวเตอร์ หรือตำแหน่งในสายงานอื่น หรือประเภทอื่นที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานที่ต้องใช้ความรู้เชิงเทคนิคเกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิทัล) เป็นผู้ที่มีประสบการณ์ ในการทำงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศตามเกณฑ์ในการคัดเลือกผู้เข้าอบรมข้อใดข้อหนึ่ง ดังต่อไปนี้ เป็นผู้มีประสบการณ์ ในการดูแล จัดการ และตรวจสอบระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยงานโดยตรง เป็นผู้มีประสบการณ์ ในการดูแล และจัดการระบบฐานข้อมูลของหน่วยงานโดยตรง เป็นผู้มีประสบการณ์ ในการบำรุงรักษา ให้บริการ และแก้ไขปัญหาเชิงเทคนิคที่เกี่ยวกับครุภัณฑ์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ของหน่วยงานโดยตรง เป็นผู้มีประสบการณ์ ในการดูแล และจัดการเวบไซต์ของหน่วยงานโดยตรง เป็นผู้มีประสบการณ์ ในการแก้ปัญหาด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศที่เกิดขึ้นประจำวัน ระยะเวลาการอบรม จำนวน 5 วัน กำหนดการ ระหว่าง วันที่ 18 ถึง 22 มกราคม 2564

หลักสูตรการจัดทำธรรมาภิบาลข้อมูลภายในหน่วยงานสำหรับผู้ปฏิบัติงานภาครัฐ (Government Data Governance in Practice)

วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างความตระหนักถึงความสำคัญของธรรมาภิบาลข้อมูลในองค์กร เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการข้อมูลเพื่อให้การได้มาและการนำไปใช้ข้อมูลนั้นถูกต้อง มีความมั่นคงปลอดภัย และมีคุณภาพ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในกรอบธรรมาภิบาลข้อมูล (Data Governance Framework) และกระบวนการในการจัดทำธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ เพื่อพัฒนาบุคลากรให้สามารถนำกรอบธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐไปประยุกต์ใช้ อันนำไปสู่การดำเนินการภายในหน่วยงาน ติดตามการบริหารจัดการข้อมูลให้มีความโปร่งใส และตรวจสอบได้ คุณสมบัติผู้เข้าอบรม ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐผู้ทำงานด้านนโยบายและวิชาการ (Academic) ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐผู้ทำงานด้านบริการ (Service) ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐผู้ปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Technologist) ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐทั่วไปที่มีความสนใจ ระยะเวลาการอบรม จำนวน 3 วัน กำหนดการ รอประกาศ

หลักสูตรการออกแบบกระบวนงานเพื่อการปรับเปลี่ยนไปสู่องค์กรดิจิทัล (Business Process Design for Digital Transformation)

วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าอบรมเข้าใจแนวคิดในการปรับเปลี่ยนองค์กรไปสู่รัฐบาลดิจิทัล เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความสามารถในการวิเคราะห์กระบวนงานขององค์กรในปัจจุบันและสามารถออกแบบกระบวนงานที่คาดหวังสำหรับการเปลี่ยนแปลงองค์กรสู่ดิจิทัล เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้ฝึกปฏิบัติการออกแบบกระบวนงานเป้าหมายด้วยเครื่องมือต่างๆเพื่อเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาองค์กรสู่รัฐบาลดิจิทัล เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถจัดทำพิมพ์เขียวบริการ(Service Blueprint) เพื่อพัฒนาสู่องค์กรดิจิทัล เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถจัดทำแผนการดำเนินงาน (Roadmap) เพื่อการปรับเปลี่ยนไปสู่องค์กรดิจิทัลได้ เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าอบรมความรู้จากการอบรมและฝึกปฏิบัติไปประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับภารกิจของหน่วยงานต้นสังกัดได้อย่างเหมาะสม คุณสมบัติผู้เข้าอบรม ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐผู้ทำงานด้านนโยบายและวิชาการ (Academic) ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐผู้ปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Technologist) ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐทั่วไปที่มีความสนใจในการพัฒนาทักษะความรู้เกี่ยวกับการออกแบบกระบวนงาน ระยะเวลาการอบรม จำนวน 11 วัน กำหนดการ รอประกาศ

หลักสูตรการพัฒนาผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงภาครัฐ (GCIO) รุ่นที่ 30

วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงภาครัฐ ได้ปรับกรอบแนวคิดด้านดิจิทัลเพื่อการทำงานในยุคดิจิทัล และเกิดการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกันของผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงภาครัฐในการพัฒนาองค์กรสู่รัฐบาลดิจิทัล เพื่อให้ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงภาครัฐ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีดิจิทัลตามมาตรฐานสากล และมีความรู้และทักษะในการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงภาครัฐ สามารถเป็นผู้นำในการปรับเปลี่ยนและเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานและการบริการของหน่วยงาน โดยบูรณาการการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ข้อมูล และนวัตกรรมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์องค์กรเพื่อสร้างคุณค่าร่วมกันกับทุกภาคส่วน เพื่อให้ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงภาครัฐ สามารถวิเคราะห์สภาวการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบสารสนเทศและพร้อมรับมือกับทิศทางกับทิศทางเทคโนโลยีในอนาคต เพื่อให้เกิดเครือข่ายของผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงภาครัฐ อันจะทำให้เกิดการทำงานแบบบูรณาการข้ามหน่วยงานให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น คุณสมบัติผู้เข้าอบรม เป็นผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง (CIO) หรือผู้ช่วยผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง(CIO Assistant) ประจำกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานของรัฐที่เทียบเท่า เป็นรองหัวหน้าหน่วยงาน ระดับ กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานที่เทียบเท่า หรือ ผู้ดำรงตำแหน่งประเภทอำนวยการ ที่ได้รับมอบหมายให้ดูแลรับผิดชอบงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ระยะเวลาการอบรม สัปดาห์ละหนึ่งวัน ทุกวันพุธ โดยฝึกอบรมทั้งหมด จำนวน 23 ครั้ง กำหนดการ ฝึกอบรมระหว่างวันที่ 23 มิถุนายน ถึงวันที่ 15 ธันวาคม 2564

หลักสูตร Future of Government Workplace in Metaverse Era

โครงการฝึกอบรมโดยความร่วมมือทางด้านวิชาการ ระหว่าง สพร. โดย สถาบัน TDGA กับบริษัทเทคโนโลยีชั้นนำระดับโลกและองค์กรพันธมิตรภาครัฐ ครั้งที่ 1 (โครงการ Tech for Gov #Gen1) ประกอบด้วย 1. บริษัท พาโล อัลโต เน็ตเวิร์ก 2. บริษัท ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) 3. บริษัท ซิสโก้ ซีสเต็มส์ (ประเทศไทย) 4. บริษัท ไลน์ คอมพานี (ประเทศไทย) 5. บริษัท อะเมซอน เว็บ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) และ สำนักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (สกมช.)      

หลักสูตร Cyber Resiliency ยืนหยัดยืนอยู่เมื่อภัยมา

โครงการฝึกอบรมโดยความร่วมมือทางด้านวิชาการ ระหว่าง สพร. โดย สถาบัน TDGA กับบริษัทเทคโนโลยีชั้นนำระดับโลกและองค์กรพันธมิตรภาครัฐ ครั้งที่ 1 (โครงการ Tech for Gov #Gen1) ประกอบด้วย 1. บริษัท พาโล อัลโต เน็ตเวิร์ก 2. บริษัท ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) 3. บริษัท ซิสโก้ ซีสเต็มส์ (ประเทศไทย) 4. บริษัท ไลน์ คอมพานี (ประเทศไทย) 5. บริษัท อะเมซอน เว็บ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) และ สำนักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (สกมช.)      

หลักสูตร GCIO X LINE

โครงการฝึกอบรมโดยความร่วมมือทางด้านวิชาการ ระหว่าง สพร. โดย สถาบัน TDGA กับบริษัทเทคโนโลยีชั้นนำระดับโลกและองค์กรพันธมิตรภาครัฐ ครั้งที่ 1 (โครงการ Tech for Gov #Gen1) ประกอบด้วย 1. บริษัท พาโล อัลโต เน็ตเวิร์ก 2. บริษัท ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) 3. บริษัท ซิสโก้ ซีสเต็มส์ (ประเทศไทย) 4. บริษัท ไลน์ คอมพานี (ประเทศไทย) 5. บริษัท อะเมซอน เว็บ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) และ สำนักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (สกมช.)      

หลักสูตร การเสริมสร้างศักยภาพ ในการใช้งานแพลตฟอร์มเพื่อการประชาสัมพันธ์และเชื่อมโยงชุมชน

โครงการฝึกอบรมโดยความร่วมมือทางด้านวิชาการ ระหว่าง สพร. โดย สถาบัน TDGA กับบริษัทเทคโนโลยีชั้นนำระดับโลกและองค์กรพันธมิตรภาครัฐ ครั้งที่ 1 (โครงการ Tech for Gov #Gen1) ประกอบด้วย 1. บริษัท พาโล อัลโต เน็ตเวิร์ก 2. บริษัท ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) 3. บริษัท ซิสโก้ ซีสเต็มส์ (ประเทศไทย) 4. บริษัท ไลน์ คอมพานี (ประเทศไทย) 5. บริษัท อะเมซอน เว็บ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) และ สำนักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (สกมช.)

หลักสูตร Migration to Cloud by AWS

โครงการฝึกอบรมโดยความร่วมมือทางด้านวิชาการ ระหว่าง สพร. โดย สถาบัน TDGA กับบริษัทเทคโนโลยีชั้นนำระดับโลกและองค์กรพันธมิตรภาครัฐ ครั้งที่ 1 (โครงการ Tech for Gov #Gen1) ประกอบด้วย 1. บริษัท พาโล อัลโต เน็ตเวิร์ก 2. บริษัท ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) 3. บริษัท ซิสโก้ ซีสเต็มส์ (ประเทศไทย) 4. บริษัท ไลน์ คอมพานี (ประเทศไทย) 5. บริษัท อะเมซอน เว็บ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) และ สำนักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (สกมช.)

หลักสูตร Cyber Range for Security Operations (SecOps)

โครงการฝึกอบรมโดยความร่วมมือทางด้านวิชาการ ระหว่าง สพร. โดย สถาบัน TDGA กับบริษัทเทคโนโลยีชั้นนำระดับโลกและองค์กรพันธมิตรภาครัฐ ครั้งที่ 1 (โครงการ Tech for Gov #Gen1) ประกอบด้วย 1. บริษัท พาโล อัลโต เน็ตเวิร์ก 2. บริษัท ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) 3. บริษัท ซิสโก้ ซีสเต็มส์ (ประเทศไทย) 4. บริษัท ไลน์ คอมพานี (ประเทศไทย) 5. บริษัท อะเมซอน เว็บ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) และ สำนักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (สกมช.)

หลักสูตร LINE for Government Officers

โครงการฝึกอบรมโดยความร่วมมือทางด้านวิชาการ ระหว่าง สพร. โดย สถาบัน TDGA กับบริษัทเทคโนโลยีชั้นนำระดับโลกและองค์กรพันธมิตรภาครัฐ ครั้งที่ 1 (โครงการ Tech for Gov #Gen1) ประกอบด้วย 1. บริษัท พาโล อัลโต เน็ตเวิร์ก 2. บริษัท ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) 3. บริษัท ซิสโก้ ซีสเต็มส์ (ประเทศไทย) 4. บริษัท ไลน์ คอมพานี (ประเทศไทย) 5. บริษัท อะเมซอน เว็บ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) และ สำนักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (สกมช.)

หลักสูตรกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลสำหรับผู้ปฏิบัติงานภาครัฐ (Personal Data Protection Act for Government Officer)

         สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) โดยสถาบันพัฒนาบุคลากรภาครัฐด้านดิจิทัล ดำเนินโครงการฝึกอบรมหลักสูตรกลางเพื่อการขับเคลื่อนรัฐบาลดิจิทัล โดยใช้กรอบแนวทางหลักสูตรกลางเพื่อการยกระดับทักษะดิจิทัลสำหรับข้าราชการและบุคลากรภาครัฐในการดำเนินการ เพื่อฝึกอบรมข้าราชการและบุคลากรภาครัฐให้มีทักษะด้านดิจิทัลที่จำเป็นและสอดคล้องกับแผนการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดทำข้อมูลให้มีความโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้ตามหลักธรรมาภิบาล การรักษามั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ (Cyber Security) และการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลตามบทบัญญัติและเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 วัตถุประสงค์      โครงการฝึกอบรมหลักสูตรกลางเพื่อการขับเคลื่อนรัฐบาลดิจิทัลสำหรับหลักสูตรหลักสูตรกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลสำหรับผู้ปฏิบัติงานภาครัฐ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้       1.เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและสาระสำคัญของพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 256       2.เพื่อให้มีความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมเพื่อการปฏิบัติงานให้สอดคล้องตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคค       3.เพื่อให้สามารถดำเนินการปรับปรุงและจัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลให้สอดคล้องกับกฎหมายได       4.เพื่อให้สามารถนำความรู้และผลจากการฝึกปฏิบัติไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองส่วนบุคคลในหน่วยงานได้ กลุ่มเป้าหมาย      ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐกลุ่มผู้ปฏิบัติงานภาครัฐ จำนวนผู้เข้ารับการอบรม     จำนวนผู้เข้าอบรมรุ่นละ 40 คนจำนวน 2 รุ่น ระยะเวลาการฝึกอบรม      รุ่นที่ 1 วันที่ 15-16 สิงหาคม 2565     รุ่นที่ 2 วันที่ 31 สิงหาคม -1 กันยายน 2565

หลักสูตรความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์พื้นฐาน (Cybersecurity Fundamentals)

     หลักสูตรนี้มุ่งเน้นให้ผู้เข้าอบรมได้ตระหนักรู้ความสำคัญของการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์พร้อม ทั้งมีความรู้และความเข้าใจในภัยคุกคามไซเบอร์รูปแบบต่าง ๆ โดยเฉพาะที่กำลังเป็นประเด็นสำคัญในปัจจุบัน นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เบื้องต้นในวิธีการป้องกันภัยคุกคามไซเบอร์ที่จะเกิดขึ้นใน อนาคตได้อย่างถูกต้องและทันท่วงทีรวมทั้งมีความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยง (Risk Management) และการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) ระบบสารสนเทศให้มีความมั่นคงปลอดภัยทาง ไซเบอร์วัตถุประสงค์    1) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความตระหนักรู้ในความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์     2) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้อย่างปลอดภัยและแก้ปัญหาเบื้องต้นได้เมื่อ ต้องพบกับภัยคุกคาม     3) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถประเมินความเสี่ยงด้านไซเบอร์และมีแนวทางการดำเนินงานที่ถูกต้อง เหมาะสมกลุ่มเป้าหมาย   ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐกลุ่มผู้ปฏิบัติงานภาครัฐ จำนวนผู้เข้ารับการอบรม   ผู้เข้าอบรมรุ่นละ 40 คนจำนวน 2 รุ่น    รุ่นที่ 1: วันที่ 22 - 23 สิงหาคม 2565     รุ่นที่ 2: วันที่ 24 - 25 สิงหาคม 2565

หลักสูตรการจัดทำธรรมาภิบาลข้อมูลภายในหน่วยงานสำหรับผู้ปฏิบัติงานภาครัฐ (Government Data Governance in Practice)

    หลักสูตรนี้มุ่งเน้นการศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการในการประบริหารจัดการข้อมูลในองค์กร การฝึกปฏิบัติเพื่อวิเคราะห์กระบวนงานในองค์กรโดยผลจากการฝึกปฏิบัติจะทำให้เห็นการชุดข้อมูลที่จำเป็นต้องใช้ในแต่ละหลักสูตรการจัดทำธรรมาภิบาลข้อมูลภายในหน่วยงานสำหรับผู้ปฏิบัติงานภาครัฐ (Government Data Governance in Practice) กระบวนงาน และเห็นความเชื่อมโยงของแต่ละชุดข้อมูลเพื่อให้แต่ละส่วนงานได้เห็นภาพของการใช้ข้อมูลร่วมกันใน หน่วยงานและกำหนดผู้รับผิดชอบชุดข้อมูลนั้น ๆ ได้ การเรียนรู้เกี่ยวกับกรอบธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐความสำคัญของการจัดทำธรรมาภิบาลข้อมูล กระบวนการในการจัดทำธรรมาภิบาลข้อมูลแต่ละขั้นตอน การฝึกปฏิบัติในการจัดทำชั้นความลับข้อมูล (Data Classification) การจัดทำการจัดทำเมทาดาตาเชิงธุรกิจ (Business Metadata) การจัดทำเมทาดาตาเชิงเทคนิค (Technical Metadata การจัดทำบัญชีข้อมูล (Data Catalog) การจัดทำนโยบายข้อมูล (Data Policy)

หลักสูตรนักบริหารรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ รุ่นที่ 12 (e-Government Executive Program: e-GEP#12)

หลักสูตรนักบริหารรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government Executive Program: e-GEP) ได้ออกแบบขึ้นเพื่อช่วยพัฒนาศักยภาพนักบริหารระดับสูงภาครัฐ ให้มีความรู้และความเข้าใจในเทคโนโลยี และแนวคิดในการบริหารองค์กรที่ทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว รวมทั้งสามารถกำหนดกลยุทธ์และแนวทางในการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลที่สอดรับกับนโยบายของหน่วยงาน และแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศ ซึ่งนอกจากผู้บริหารที่เข้ารับการอบรมจะได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านกรณีศึกษาต่าง ๆ จากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิทั้งภาครัฐและเอกชน ทั้งในประเทศและต่างประเทศแล้ว ยังเป็นโอกาสที่จะได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการบริหารจัดการองค์กร จากกรณีศึกษาที่น่าสนใจระหว่างผู้บริหารที่เข้ารับการอบรมด้วยกัน ตลอดจนการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลที่ทันสมัย และสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการขับเคลื่อนองค์กรไปสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัลได้อย่างเป็นรูปธรรม วัตถุประสงค์ของการอบรม 1. เพื่อเตรียมความพร้อมให้ผู้บริหารเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านดิจิทัลในระดับนโยบาย และผู้นำการขับเคลื่อนองค์กรดิจิทัลที่สอดคล้องกับนโยบาย และแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย 2. เพื่อให้ผู้บริหารได้เรียนรู้และเข้าใจเรื่องการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล กฎหมายดิจิทัล และมาตรฐานต่าง ๆ เพื่อการวางแผนงานและโครงการที่สอดคล้องกับนโยบาย และแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย 3. เพื่อให้ผู้บริหารได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากวิทยากรที่มีประสบการณ์ในการบริหารจัดการองค์กรจากทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึงการเรียนรู้ผ่านกรณีศึกษาต่าง ๆ และตัวอย่างความสำเร็จจากการศึกษาดูงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยนองค์กรสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล 4. เพื่อให้ผู้บริหารได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ระหว่างกัน และร่วมกันจัดทำโครงการภายใต้แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลที่มีการบูรณาการระหว่างหน่วยงานภาครัฐ 5. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างผู้บริหาร ผู้เข้าอบรม ที่เข้มแข็ง และนำไปสู่ความร่วมมือในการบูรณาการการทำงานระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เพื่อร่วมกันพัฒนารัฐบาลดิจิทัลให้เกิดผลเป็นรูปธรรมได้รวดเร็วขึ้น คุณสมบัติผู้เข้าร่วมการอบรม 1. ข้าราชการพลเรือน ผู้ดำรงตำแหน่งดังต่อไปนี้   1.1 ผู้ดำรงตำแหน่งประเภทบริหารระดับต้น   1.2 ดำรงตำแหน่งประเภทอำนวยการระดับสูง    1.3 ผู้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญ   1.4 ผู้ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไประดับทักษะพิเศษ 2. ผู้บริหารของหน่วยงานของรัฐฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายตุลาการ องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ องค์กรอัยการ องค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ (เทียบเท่าตำแหน่งประเภทบริหารระดับต้น หรือระดับซี 9 เดิมขึ้นไป) 3. ข้าราชการทหารและตำรวจ ที่มีชั้นยศตั้งแต่ระดับ พันเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอก หรือพันตำรวจเอก ขึ้นไป 4. บุคคลซึ่งคณะกรรมการหลักสูตรฯ พิจารณาเห็นสมควรเข้ารับการอบรม เนื่องด้วยเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการกำหนดนโยบายหรือการบริหารจัดการองค์กรภาครัฐ ระยะเวลาการอบรม ระหว่างวันที่ 7 กุมภาพันธ์ ถึงวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 สัปดาห์ละ 1 วัน (ทุกวันอังคาร) เวลา 09.00 - 16.00 น. โดยอบรมทั้งหมด จำนวน 16 สัปดาห์ รายละเอียดหลักสูตร/กำหนดการhttps://bit.ly/3Xtuyfq  หลักสูตรมีค่าใช้จ่าย ติดต่อสอบถาม คุณอิทธิรัมภ์ อิทธิสุขนันท์ 080 045 3501 คุณโชติมา รอชัยกุล 080 045 3011 คุณทัชวรรณ โอภาสขจรเดช 080 045 3329

หลักสูตรรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์สำหรับผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 9 (e-Government Program for Chief Executive Officer : e-GCEO#9)

หลักสูตรรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์สำหรับผู้บริหารระดับสูง (e-Government Program for Chief Executive Officer : e-GCEO) เป็นหลักสูตรสำหรับพัฒนาศักยภาพผู้บริหารระดับสูงขององค์กรภาครัฐเพื่อการเป็นผู้นำดิจิทัลโดยเฉพาะ โดยหลักสูตร e-GCEO ได้มีการจัดอบรมมาอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปีถึง 8 รุ่นแล้ว และในแต่ละปีสถาบัน TDGA ยังปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยด้วย สำหรับหลักสูตรนี้ออกแบบขึ้นโดยมุ่งเน้นให้ผู้บริหารระดับสูงขององค์กรภาครัฐเข้าใจถึง ทิศทาง นโยบาย และแนวทางการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลอย่างถ่องแท้ ซึ่งนอกจากผู้บริหารที่เข้ารับการอบรมจะได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านกรณีศึกษาต่าง ๆ จากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิทั้งภาครัฐและเอกชน ทั้งในประเทศและต่างประเทศแล้ว ยังเป็นโอกาสอันดีที่จะได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการบริหารจัดการองค์กร จากกรณีศึกษาที่น่าสนใจระหว่างผู้บริหารที่เข้ารับการอบรมด้วยกันเอง ตลอดจนการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลที่ทันสมัย และสามารถนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดผลเป็นรูปธรรมได้  วัตถุประสงค์ของการอบรม     1. เพื่อให้ผู้บริหารระดับสูงได้เรียนรู้ เข้าใจถึงบทบาทของการเป็นผู้นำยุคดิจิทัลที่สามารถกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ เพื่อการขับเคลื่อนองค์กรดิจิทัลที่สอดคล้องกับนโยบายและแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย     2. เพื่อให้ผู้บริหารระดับสูงได้รู้จัก เรียนรู้ และเข้าใจเรื่องการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล กฎหมายดิจิทัล และเครื่องมือต่าง ๆ เพื่อการบริหารราชการแผ่นดินในยุคดิจิทัล และร่วมกันขับเคลื่อนองค์กรภาครัฐสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัลที่ช่วยให้ประชาชนสามารถติดต่อใช้บริการของภาครัฐได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใสตรวจสอบได้     3. เพื่อให้ผู้บริหารระดับสูงได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากวิทยากรที่มีประสบการณ์ในการบริหารจัดการองค์กรจากทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึงการเรียนรู้ผ่านกรณีศึกษาต่าง ๆ และตัวอย่างความสำเร็จจากการศึกษาดูงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติได้อย่างเป็นรูปธรรม     4. เพื่อให้ผู้บริหารระดับสูงได้แลกเปลี่ยนวิสัยทัศน์ องค์ความรู้ และประสบการณ์ในด้านต่าง ๆ ระหว่างกัน และร่วมกันจัดทำโครงการหรือข้อเสนอเชิงนโยบาย เพื่อการปฏิรูปการทำงานหรือการบริหารราชการในรูปแบบใหม่ เพื่อขจัดปัญหาอุปสรรคที่มีผลต่อการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย     5. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างผู้บริหาร ผู้เข้าอบรม ที่เข้มแข็ง และนำไปสู่ความร่วมมือในการบูรณาการการทำงานระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เพื่อร่วมกันพัฒนารัฐบาลดิจิทัลให้เกิดผลเป็นรูปธรรมได้รวดเร็วขึ้นคุณสมบัติผู้เข้าร่วมการอบรม   1. ข้าราชการพลเรือน ผู้ดำรงตำแหน่งดังต่อไปนี้      1.1 ผู้ดำรงตำแหน่งประเภทบริหารระดับสูง      1.2 ผู้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการระดับทรงคุณวุฒิ ได้แก่ ผู้ตรวจราชการ (ระดับกระทรวง) ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิ หรือเทียบเท่า   2. ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานของรัฐ ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายตุลาการ องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ องค์กรอัยการ องค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ (เทียบเท่าตำแหน่งประเภทบริหารระดับสูง หรือระดับซี 10 เดิมขึ้นไป)   3. ผู้บริหารระดับสูงสุดของหน่วยงานรัฐที่เป็นนิติบุคคล   4. คณะกรรมการบริหารหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และหน่วยงานอื่นของรัฐ   5. ผู้ดำรงตำแหน่งเป็นผู้บังคับบัญชาของหน่วยงานภายใต้ 3 เหล่าทัพ และตำรวจ และ/หรือที่มีชั้นยศ ตั้งแต่ระดับ พลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี หรือพลตำรวจตรี ขึ้นไป   6. บุคคลซึ่งคณะกรรมการหลักสูตรฯ พิจารณาเห็นสมควรเข้ารับการอบรม เนื่องด้วยเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการกำหนดนโยบายหรือบริหารจัดการองค์กรภาครัฐระยะเวลาการอบรม    ระหว่างวันที่ 3 มีนาคม ถึงวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2566 สัปดาห์ละครึ่งวัน (ทุกวันศุกร์ช่วงบ่าย) เวลา 13.30 - 17.30 น. รวม 16 สัปดาห์ รายละเอียดหลักสูตร/กำหนดการ คลิกที่นี่   หลักสูตรมีค่าใช้จ่าย ติดต่อสอบถาม คุณอิทธิรัมภ์ อิทธิสุขนันท์ 080 045 3501 คุณโชติมา รอชัยกุล 080 045 3011

หลักสูตรการสร้างกระบวนการเปลี่ยนผ่านองค์กรสู่รัฐบาลดิจิทัล รุ่นที่ 4 (Digital Transformation Program: DTP#4)

หลักสูตรการสร้างกระบวนการเปลี่ยนผ่านองค์กรสู่รัฐบาลดิจิทัล (Digital Transformation Program) เพื่อให้ผู้บริหารองค์กรภาครัฐที่มีบทบาทสำคัญในการทำ Digital Transformation ขององค์กรได้เรียนรู้กระบวนการปรับเปลี่ยนไปสู่ดิจิทัล ทั้งการปรับเปลี่ยนกระบวนการทำงานในองค์กร การปรับเปลี่ยนการให้บริการแก่ประชาชนด้วยการนำเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้ยกระดับบริการอย่างเป็นรูปธรรม หลักสูตรนี้ดำเนินการจัดอบรมมาอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปีถึง 3 รุ่นแล้วและในแต่ละปี          สถาบัน TDGA ยังปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยด้วย สำหรับปีนี้ได้มีการผสมผสานการเรียนรู้ในด้านเนื้อหาวิชาการและมุ่งเน้นให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันผ่านการลงมือปฏิบัติอย่างเข้มข้น รวมถึงการแบ่งปันประสบการณ์ร่วมกันจากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้มีประสบการณ์ตรงในด้าน Digital Transformation ทั้งภาครัฐและเอกชน ดังนั้นผู้บริหารที่เข้ารับการอบรมในหลักสูตรจะได้รับทั้งความรู้เชิงทฤษฎี การลงมือฝึกปฏิบัติ และการสร้างประสบการณ์ร่วมกันจากกิจกรรมต่าง ๆ ของหลักสูตร ซึ่งจะช่วยบ่มเพาะให้ผู้บริหารได้เป็นต้นแบบของการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงดิจิทัลในหน่วยงานและนำพาองค์กรสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างแท้จริง วัตถุประสงค์ของการอบรม1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนโยบาย ยุทธศาสตร์องค์กร และแผนการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้เกิดแนวคิดในการออกแบบกระบวนงานหรือบริการดิจิทัล ที่สอดคล้องตามแผนและนโยบายพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย 2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถออกแบบกระบวนการที่สนับสนุนการเปลี่ยนผ่านองค์กรไปสู่รัฐบาลดิจิทัลได้อย่างเป็นรูปธรรม 3. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเกิดแนวคิดในการบูรณาการระบบงานราชการ รวมถึงการเรียนรู้ผ่านกรณีศึกษาต่าง ๆ และตัวอย่างความสำเร็จจากการศึกษาดูงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการปรับเปลี่ยนองค์กรไปสู่ดิจิทัล 4. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้มีโอกาสในการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ วิสัยทัศน์ และประสบการณ์ในด้านต่าง ๆ และร่วมกันจัดทำโครงการ Digital Transformation ระหว่างผู้บริหารที่เข้ารับการอบรมด้วยกัน 5. เพื่อสร้างเครือข่ายระหว่างผู้เข้าอบรมและนำไปสู่ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เพื่อให้เกิดการบูรณาการความรู้และประสบการณ์ เพื่อร่วมกันพัฒนารัฐบาลดิจิทัลให้เกิดผลเป็นรูปธรรมได้รวดเร็วขึ้น คุณสมบัติผู้เข้าร่วมการอบรม ผู้บริหารหน่วยงานภาครัฐในทุกระดับ หรือบุคคลที่มีบทบาทในการปรับเปลี่ยนองค์กรสู่องค์กรดิจิทัลอย่างเป็นรูปธรรม หรือผู้ซึ่งคณะกรรมการหลักสูตรฯ พิจารณาเห็นสมควรเข้าร่วมการอบรม ระยะเวลาการอบรม ระหว่างวันที่ 10 พฤษภาคม ถึงวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2566 สัปดาห์ละ 1 วัน (ทุกวันพุธ) เวลา 09.00 - 16.00 น. โดยอบรมทั้งหมด จำนวน 16 สัปดาห์ รายละเอียดหลักสูตร/กำหนดการhttps://bit.ly/3Et0A2F  หลักสูตรมีค่าใช้จ่าย ติดต่อสอบถาม คุณอิทธิรัมภ์ อิทธิสุขนันท์ 080 045 3501 คุณโชติมา รอชัยกุล 080 045 3011 คุณทัชวรรณ โอภาสขจรเดช 080 045 3329

หลักสูตรเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลภาครัฐ รุ่นที่ 2 (Government Data Protection Officer)

หลักสูตรเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลภาครัฐ (Government Data Protection Officer : GDPO) เป็นหลักสูตรที่เกิดจากความร่วมมือของ 3 หน่วยงานคือ สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) หรือ สพร. สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล หรือ สคส. และสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) หรือ สคช. เพื่อร่วมกันสร้างเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (DPO) ให้มีความรู้และทักษะอย่างเพียงพอเพื่อการปฏิบัติหน้าที่ ตามบทบาทที่กฎหมายกำหนด โดยเนื้อหาในหลักสูตรเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล รวมถึงการประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง โดยการศึกษาพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 โดยเฉพาะมาตราต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ PDPA แนวปฏิบัติด้านความมั่นคงปลอดภัยและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง หลักการด้านความเป็นส่วนตัวและการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Privacy and Data Protection Principles) บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบด้านการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Roles and Responsibility) มาตรฐานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล การบริหารจัดการและการประเมินความเสี่ยง รวมถึงเอกสารอื่นที่จำเป็นในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล          หลักสูตรนี้มุ่งเน้นในการเตรียมความพร้อมให้เจ้าหน้าที่ที่ได้รับการแต่งตั้งเป็น DPO ของหน่วยงาน ให้เป็นผู้สามารถปฏิบัติตามกฎหมายได้อย่างถูกต้อง และมีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ แนวปฏิบัติ มาตรฐานความปลอดภัยตามหลักการสากล สามารถนำความรู้และผลจากการฝึกปฏิบัติ ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน รวมถึงเตรียมความพร้อมเพื่อการขอรับรองมาตรฐานคุณวุฒิอาชีพนักจัดการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ระดับ 7

หลักสูตรเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลภาครัฐ รุ่นที่ 3 (Government Data Protection Officer: GDPO#3)

หลักสูตรเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลภาครัฐ (Government Data Protection Officer : GDPO) เป็นหลักสูตรที่เกิดจากความร่วมมือของ 3 หน่วยงานคือ สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) หรือ สพร. สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล หรือ สคส. และสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) หรือ สคช. เพื่อร่วมกันสร้างเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (DPO)ให้มีความรู้และทักษะอย่างเพียงพอเพื่อการปฏิบัติหน้าที่ ตามบทบาทที่กฎหมายกำหนด โดยเนื้อหาในหลักสูตรเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล รวมถึงการประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง

หลักสูตรเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลภาครัฐ รุ่นที่ 4 (Government Data Protection Officer: GDPO#4)

หลักสูตรเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลภาครัฐ (Government Data Protection Officer : GDPO) เป็นหลักสูตรที่เกิดจากความร่วมมือของ 3 หน่วยงานคือ สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) หรือ สพร. สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล หรือ สคส. และสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) หรือ สคช. เพื่อร่วมกันสร้างเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (DPO)ให้มีความรู้และทักษะอย่างเพียงพอเพื่อการปฏิบัติหน้าที่ ตามบทบาทที่กฎหมายกำหนด โดยเนื้อหาในหลักสูตรเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล รวมถึงการประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง

หลักสูตรหลักการกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลสำหรับผู้บริหารภาครัฐ(DGA206)

ข้อมูล (Data) ถือเป็นป็จจัยสําคัญในการขับเคลื่อนธุรกิจในยุคเศรษฐกิจดิจิทัลแต่ละหน่วยงานหรือองค์กรต่างใช้ประโยชน์จากข้อมูลจนประสบความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจด้วยจํานวนข้อมูลที่ใช้ในหน่วยงานมีจํานวนมากมาย 

หลักสูตรเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลภาครัฐ รุ่นที่ 5

หลักสูตรเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลภาครัฐ (Government Data Protection Officer : GDPO) เป็นหลักสูตรที่เกิดจากความร่วมมือของ 3 หน่วยงานคือ สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) หรือ สพร. สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล หรือ สคส. และสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) หรือ สคช. เพื่อร่วมกันสร้างเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (DPO)ให้มีความรู้และทักษะอย่างเพียงพอเพื่อการปฏิบัติหน้าที่ ตามบทบาทที่กฎหมายกำหนด โดยเนื้อหาในหลักสูตรเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล รวมถึงการประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง โดยการศึกษาพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 โดยเฉพาะมาตราต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ PDPA แนวปฏิบัติด้านความมั่นคงปลอดภัยและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง หลักการด้านความเป็นส่วนตัวและการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Privacy and Data Protection Principles) บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบด้านการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Roles and Responsibility) มาตรฐานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล การบริหารจัดการและการประเมินความเสี่ยง รวมถึงเอกสารอื่นที่จำเป็นในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล      หลักสูตรนี้มุ่งเน้นในการเตรียมความพร้อมให้เจ้าหน้าที่ที่ได้รับการแต่งตั้งเป็น DPO ของหน่วยงาน ให้เป็นผู้สามารถปฏิบัติตามกฎหมายได้อย่างถูกต้อง และมีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ แนวปฏิบัติ มาตรฐานความปลอดภัยตามหลักการสากล สามารถนำความรู้และผลจากการฝึกปฏิบัติ ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน รวมถึงเตรียมความพร้อมเพื่อการขอรับรองมาตรฐานคุณวุฒิอาชีพนักจัดการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ระดับ 7

TDGA - TDGA